ดร.ศิริพัฒน์ เรืองพยัคฆ์
(Dr.Siriphat Ruengphayak)
รองผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว
Post-doctoral researcher in the nutritious rice research & rice molecular breeding group, Rice Science Center, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom, Thailand
นักวิจัยหลังปริญญาเอก กลุ่มงานวิจัยข้าวโภชนาการและ molecular breeding ของศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว ม เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม
|
|
Phone |
|
Address |
|
|
ได้เริ่มทำงานวิจัยเกี่ยวกับการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโภชนาการสูง ตั้งแต่เริ่มทำวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก กับ รศ.ดร. อภิชาติ วรรณวิจิตร ที่ ศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว ม เกษตรศาสตร์ หัวข้อวิทยานิพนธ์มุ่งเน้นที่การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีธาตุเหล็กสูง และทนทานธาตุเหล็กเป็นพิษ โดยอาศัยแหล่งความแปรปรวนของพันธุกรรมธรรมชาติในการผสมข้ามสายพันธุ์ ซึ่งเป็นที่มาของข้าวธาตุเหล็กสูงพันธุ์ สินเหล็ก และข้าวเหนียวหอมนวล ในขณะเดียวกันได้ใช้การปรับปรุงพันธุ์โดยการก่อกลายพันธุ์ โดยเหนี่ยวนำด้วยรังสี fast neutron จนค้นพบพันธุ์กลาย ‘MuFRO’ ซึ่งเกิดการกลายพันธุ์ที่ยีน OsFRO1 (LOC_Os04g36720) และแสดงความทนทานต่อสภาพเหล็กเป็นพิษ ซึ่งข้าวพันธุ์นี้จะเหมาะกับดินที่มีเหล็กมาก ซี่งพบได้ทั่วไปในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในระหว่างการศึกษา ได้ร่วมวิจัยในโครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวนาชลประทาน ให้มีความต้านทานต่อโรคไหม้ ขอบใบแห้ง เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ทนน้ำท่วมฉับพลัน และมีดัชนีน้ำตาลต่ำ โดยใช้วิธีการปรับปรุงพันธุ์แบบใหม่ที่เรียกว่า Pseudo backcrossing gene pyramiding (pMBP) เพื่อรวบยอดยีนจำนวน 5 ยีน (Sub1C, xa5, Xa21, TPS, SSiia) กับอีก 3 QTL (qBph3, qBL1, qBL11) ไว้ในฐานพันธุกรรม ‘ปิ่นเกษตร 3’ ซึ่งเป็นข้าวหอม ไม่ไวแสง และผลผลิตสูง จนได้ข้าวพันธุ์ใหม่ ชื่อว่า ‘ปิ่นเกษตร+4’ เทคนิคการรวบยอดยีนแบบใหม่นี้ช่วยลดเวลาในการสร้างข้าวพันธุ์ใหม่ ซึ่งมีลักษณะที่ต้องปรับปรุงพันธุ์ที่ซับซ้อนมากขึ้น I first came into contact with nutritional rice molecular breeding during my PhD. Thesis in the lab of Dr. Apichart Vanavichit at the Rice Science Center, Kasetsart University, Thailand. My Thesis was focused on the improvement of high grain iron and improvement of Fe toxicity tolerance rice using natural variation and induced mutation. Natural cross-hybridization can be developed high grain Fe rice varieties ‘Sinlex’ and ‘Neaw Hom Nual’. While, FN radiation generated extreme Fe-tolerant mutants capable of tolerating different levels of Fe toxicity. The MuFRO1, a mutant for OsFRO1 (LOC_Os04g36720) tolerated Fe toxicity in the vegetative stage. This mutant could facilitate rice production in the high-Fe soil found in Southeast Asia. During my study, I have attended the project for improving irrigated rice with tolerance to flash flooding, resistance to multiple isolates of bacterial leaf blight, blast (BLB), brown plant hopper (BPH), and low glycemic index (GI) on the high yielding, non-photoperiod sensitive, aromatic variety ‘PinK3’. The innovative marker-assisted pseudo-backcross gene pyramiding (pMBP) was designed to shorten a conventional marker-assisted backcross gene pyramiding. That pMBP facilitated rapid recombining five functional genes (Sub1C, xa5, Xa21, TPS, SSiia) and three QTLs (qBph3, qBL1, qBL11) into the favorable PinK3 genomic background. New rice varieties were called 'Pinkaset + 4'. This new pyramiding platform decreases the time required to generate new rice varieties exhibiting complex, durable resistance to biotic and abiotic stresses in backgrounds with desirable qualities.
|
Education |
|
Non-scientific Interests |
|
Ruengphayak S, Ruanjaichon V, Saensuk C, Phromphan S, Tragoonrung S, Kongkachuichai R and Vanavichit A.2015. Forward Screening for Seedling Tolerance to Fe Toxicity Revealed Polymorphic Mutation on Ferric Chelate Reductase. Rice. 8: 3
Ruengphayak S, Chaichumpoo E, Phromphan S, Kamolsukyunyong W, Sukhaket W, Phuvanartnarubal E, Korinsak S, Korinsak S and Vanavichit A. 2015. Pseudo-backcrossing design for rapidly pyramiding multiple traits into a preferential rice variety. Rice. 8: 7
PRESENTATIONS IN CONGRESSES, COURSES, AND SEMINARS: Ruengphayak, S, S. Saechoo, N. Phoka, E. Chaichumpoo, S. Arikit, A. Plabpla, S. Phromphan, V. Ruanjaichon, T. Toojinda, S. Tragoonrung, R. Kongkachuichai and A. Vanavichit. 2009. A TILLING population designed for discovering mutants for nutritional quality in rice 6th International Rice Genetics Symposium and 7th International Rice Functional Genomics. 16-19 November 2009, Manila Hotel, Manila Philippines.
ศิริพัฒน์ เรืองพยัคฆ์, สมศักดิ์ แซ่ซู้, นงนาถ พ่อค้า, เอกวัฒน์ ไชยชุมภู, ศิวเรศ อารีกิจ, อนุชา พลับพลา, สุภาพร พรหมพันธุ์, วินิตชาญ รื่นใจชน, ธีรยุทธ ตู้จินดา, สมวงษ์ ตระกูลรุ่ง, รัชนี คงคาฉุยฉาย และอภิชาติ วรรณวิจิตร. 2553. แหล่งกำเนิดความแปรปรวนทางพันธุกรรมเพื่อการค้นหาหน้าที่ของยีนและการปรับปรุงพันธุ์.การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติ ครั้งปฐมฤกษ์ 15 -17 ธันวาคม 2553.ม.
|