มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เป็นผู้นำในสร้างพันธุ์ “ข้าวหอมมะลิ+4” ที่สามารถต้านทานโรคขอบใบแห้ง โรคไหม้คอรวง เพลี้ยกระโดด และทนน้ำท่วมฉับพลันได้พร้อมๆกัน โดยใช้เวลาเพียง 4 ปี ได้นำเอายีนจำนวนมากกว่า 10 ตำแหน่ง มาในช่วงเวลาเดียวกันทีมนักปรับปรุงพันธุ์ข้าวแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ยังได้สร้างพันธุ์ข้าวหอมนาชลประทานที่รวมยีนกว่า 10 ตำแหน่งเดิมนี้มาไว้ในข้าวหอมปิ่นเกษตร+4 ที่มีผลผลิตสูงกว่า 1 ตันต่อไร่ และมีดัชนีน้ำตาล ต่ำกว่าข้าวบัสมาติที่มีชื่อเสียงในเรื่องดัชนีน้ำตาลต่ำของอินเดีย ข้าวหอมปิ่นเกษตร+4จะเป็นความหวังของชาวนาในเขตชลประทานที่ต้องการพันธุ์ข้าวที่มีเอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่นเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค
ตารางที่ ข้อมูลลักษณะการให้ผลผลิตของข้าวปิ่นเกษตร+4 สายพันธุ์ใหม่ที่มีความโดดเด่นเปรียบเทียบกับสายพันธุ์ข้าวที่ใช้ในกระบวนการปรับปรุงพันธุ์ และสายพันธุ์การค้ามาตรฐาน |
|||||||||
ปิ่นเกษตร+4 #1_E06 |
115 |
140 |
1244 |
50.67 |
630 |
42.9 |
7.8 |
31.25 |
47 |
ปิ่นเกษตร3 |
123 |
141 |
1329 |
43.33 |
576 |
40.33 |
7.4 |
39.19 |
0 |
หอมชลสิทธิ์ |
82 |
122 |
646 |
42 |
271 |
39.4 |
7.5 |
45.33 |
51 |
497BLB |
97 |
134 |
867 |
52.67 |
457 |
40.53 |
7.3 |
39.73 |
8 |
IL162(ไวต่อช่วงแสง) |
96 |
99 |
356 |
28 |
100 |
38.5 |
6.8 |
50 |
0 |
ไรซ์เบอร์รี่ |
107 |
142 |
893 |
40 |
357 |
34.8 |
6.8 |
35.29 |
4 |
ปทุมธานี1 |
107 |
135 |
1120 |
48.67 |
545 |
38.7 |
7.3 |
24.66 |
2 |
สุพรรณบุรี1 |
108 |
133 |
1071 |
55.33 |
593 |
39.5 |
6.9 |
36.23 |
41 |