งานวิจัยพัฒนาพันธ์ุข้าว

 ผลงานจากทีมวิจัย RSC KU BIOTEC NSTDA

วันที่ 3-7 กันยายน 2553 

ทางศูนย์วิทยาศาสตร์ข้า่ว และ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
ได้เิปิดอบรมหลักสูตร High Throughput SNP Genotyping Course ภาคปฏิบัติ 
ความสำเร็จในการถอดรหัสจีโนมหรือรหัสของยีนในพืชเศรษฐกิจต่างๆเช่น ข้าว ข้าวโพด ถั่วเหลือง ได้ถูกนำไปใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง(reference genome) ที่สำคัญ เพื่อค้นหา molecular marker ที่ดีที่สุด เพ่อใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ ที่เรียกว่า Single Nucleotide Polymorphism (SNP)

 

   การใช้ SNP marker ในงานปรับปรุงพันธุ์ ช่วยทำให้การปรับปรุงพันธุ์เป็นไปได้อย่างรวดเร็ว แต่อย่างไรแนวคิดในการพัฒนา molecular marker จำต้องเปลี่ยนเทคนิคไป การศึกษา molecular diversity สามารถทำได้ในระดับยีน และที่สำคัญ SNP genotypinhg จะเป็นเทคนิคสำคัญในการทำ Association mapping เพื่อทดแทนการใช้ conventinal mapping ในการค้นหายีนที่เป็นกุญแจดอกสำคัญ ที่ทำให้การค้นหายีนทำได้ง่ายขึ้นยิ่งไปกว่านั้น การใช้ SNP marker ยังมีข้อจำกัดที่เครื่องมือราคาแพง ดังนั้นจึงควรมีการพัฒนาบุคลากรเพื่อให้เกิดความเข้าใจในการวางแผนการทดลอง และออกแบบห้องปฏิบัติการที่เหมาะสม

 


 

ข่าวสารและกิจกรรม

 

ข้าวลูกผสม

บทความแนะนำ งานวิจัยข้าว

ข้าวลูกผสม” Game-Charger of Rice“ข้าว” ซึ่งตามธรรมชาติเป็นพืชผสมตัวเอง การที่จะสร้างเมล็ดพันธุ์ลูกผสมจึงมีซับซ้อน...

 

 

อนุมูลอิสระ คือ อะไร ? ทำไมต้องสารต้านอนุมูลอิสระ

บทความแนะนำ อนุมูลอิสระ

การได้รับสารต้านอนุมูลอิสระจากอาหาร เช่นวิตามิน อี เบ้ตาแคโรทีน แอนโทไซยานิดิน (anthrocyanidin) สารประกอบโฟลีฟีนอลต่าง ๆ

บทความงานวิจัย

งานบริการของเรา

GENOME ANALYSIS SERVICES

Whole Genome Sequencing  | Bioinformatics | Transcriptome Sequencing  

 

บริการตรวจความหอม (2ap)

ข้าวหอมมะลิ และ พืช อื่น ๆ  

บริการตรวจความบริสุทธิ์สายพันธุ์ข้าว

Dna Profiling Laboratory & DNATEC Lab 

 

    บริการวิเคราะห์จีโนม

เว็บไซต์ของเรามีการใช้คุกกี้ เพื่อให้ท่านได้รับการใช้งานเว็บไซต์ที่ดีแสดงผลได้ถูกต้อง เมื่อใช้งานเว็ปไซต์ของเราต่อถือว่ายินยอมให้มีการใช้งานคุกกี้